(0)
เหรียญพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช รุ่นสร้างนพรัตน์สังวาล วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ.๒๕๕๒








รายงานผลโหวต

จากรูปพระแท้ 0% [0]
จากรูปพระแท้แต่ข้อมูลไม่ถูกต้อง     0% [0]
จากรูปพระเก๊ 0% [0]
พระดูยากจากรูป 0% [0]

จำนวน โหวต



ชื่อพระเครื่องเหรียญพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช รุ่นสร้างนพรัตน์สังวาล วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ.๒๕๕๒
รายละเอียดเหรียญพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช รุ่นสร้างนพรัตน์สังวาล วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ.๒๕๕๒



วัตถุประสงค์ 4 ประการ

1.เพื่อเป็นเหรียญที่ระลึกในโอกาสการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลประดับพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช

2.เพื่อมอบให้กับผู้ที่ร่วมบริจาคเงินสร้างนพรัตน์สังวาล

3.เพื่อเผยแพร่บารมีของพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช

4.เพื่อให้ประชาชนชาวพุทธได้มีเหรียญพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองไว้บูชาเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต



ประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษกอย่างยิ่งใหญ่ โดยมี 10 พระเกจิอาจารย์ชื่อดังของจังหวัดนครศรีธรรมราช นำโดย อาจารย์เอื้อม กตตฺปุณโญ วัดบางเนียน อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช ร่วมอธิษฐานจิตปลุกเสก นอกจากนี้ยังได้นำเหรียญทั้งหมดไปให้ เกจิอาจารย์ปลุกเสกเดี่ยวอีกหลายวาระ เช่น อาจารย์พุ่ม กตตฺปุณโญ อายุ 103 ปี วัดดอยเจดีย์ อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช และ ในวันที่ 25 ก.ค. 2552 ตั้งแต่เวลา 16.00 น. พิธีสมโภชบริเวณลานโพธิ์ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อย่างไรก็ตาม ประชาชนที่ทราบข่าวต่างแห่จองเหรียญพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราชอย่างล้นหลาม ทำให้หมดไปภายในวันเดียว หลังจากนั้นใน ระหว่างวันที่ 30-31 กรกฎาคม 2552 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะเสด็จฯ คล้องถวายนพรัตน์สังวาลบนองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช





กรมศิลป์สร้างนพรัตน์สังวาลชุดที่ 2 ฉลอง 81 พรรษาพ่อหลวงไทย

จังหวัดนครศรีธรรมราช นอกจากจะเป็นเมืองศูนย์กลางพุทธศาสนามหานิกายสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ โดยมีองค์ “พระบรมธาตุเจดีย์ยอดทองคำ” ภายในประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าพระศาสดาของพุทธศาสนาแล้ว นครศรีธรรมราชยังมีโบราณสถานโบราณวัตถุเก่าแก่ที่เป็นสัญลักษณ์ของพุทธศาสนากระจายอยู่ตามพื้นที่ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก ซึ่งหากพูดถึงพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองนครศรีธรรมราช คนทั่วไปก็จะนึกถึง “พระพุทธสิหิงค์” ทันที โดยอาจมีไม่มากนักที่จะ รู้ว่านอกจากพระพุทธสิหิงค์แล้ว นครศรีธรรมราชยังมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ล้ำค่า และเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองอีกองค์หนึ่ง ซึ่งมีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าพระพุทธสิหิงค์ พระพุทธรูปองค์ ดังกล่าวคือ “พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช” พระประธานในวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหารนั่นเอง “พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช” เป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่ปางมารวิชัย ก่ออิฐถือปูนลงรักปิดทอง ขนาดหน้าตักกว้าง 3 วา 1 ศอก 12 นิ้ว สูง 5 วา ประทับนั่งเป็นพระประธานในพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่มีขนาดใหญ่มาก สันนิษฐานว่าสร้างในช่วงปี พ.ศ.1998-2006 (อยุธยาตอนต้น) เป็นพระพุทธรูปที่มีพระพักตร์ที่เปล่งปลั่ง แย้มพระโอษฐ์ ทอดสายพระเนตรลงมาเปี่ยมด้วยพระเมตตาและสงบเย็น โดยเบื้องหน้าพระประธานมีพระพุทธรูปพระสาวกซ้ายขวา คือ พระโมคคัลลนะและพระสารีบุตร นอกจากนี้ยังมีพระพุทธรูปยืนอีกหลายองค์ ส่วนพระวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ที่ประดิษฐานพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช เป็นวิหารที่เก่าแก่มากสร้างตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นของคู่กันมากับพระมหาธาตุเจดีย์ โดยชาวลังกาเป็นผู้เข้ามาก่อสร้างและบำรุงรักษาตลอดมา โดยในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้มีการบูรณะซ่อมแซมและขยายพระวิหารให้กว้างขวางขึ้นพระวิหารหลวงจึงมีลักษณะ เป็นแบบอาคารที่นิยมสร้างกันในสมัยกรุงศรีอยุธยาคือตั้งเสาเอนปลายสอบเข้าหากันทำให้ดูอ่อนช้อยงดงาม โดยหน้าบันเป็นไม้แกะสลักด้านหน้าเป็นรูปช้างสามเศียร ด้านหลังเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ เพดานเขียนลายไทยปิดทอง มีลายดาวเป็นแฉกรัศมีงดงาม ในช่วง “วันวิสาขบูชา” วันที่ 8 พ.ค. 2552 ที่ผ่านมา นายเกรียงไกร สัมปัชชลิต อธิบดีกรมศิลปากร พร้อมคณะจากกรมศิลปากรได้เดินทางมายังลานโพธิ์ หาดทรายแก้ว วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เพื่อทำพิธีมอบนพรัตน์สังวาลประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราชพระประธานในวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ให้กับสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช และวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร โดยมี นายภาณุ อุทัยรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ว่าที่ ร.ต. ฐิตวัฒน์ เชาวลิต รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช พระเทพ วินยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุฯ นายสวัสดิ์ กฤตรัชตนันต์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช และ ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏจังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมรับมอบนพรัตน์สังวาล อธิบดีกรมศิลปากร เปิดเผยว่า เมื่อปี 2551 สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมกับวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร และประชาชนใน จ.นครศรีธรรมราช ได้ประสานไปยังกรมศิลปากร ในการดำเนินการจัดสร้างนพรัตน์สังวาล ประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราชพระประธานในวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร โดยกรมศิลปากรได้มอบหมายให้สำนักช่างสิบหมู่ดำเนินการจัดสร้าง โดยมี นาย ธนิตย์ แก้วนิยม หัวหน้ากลุ่มช่างโลหะและช่างศิราภรณ์ เป็นหัวหน้าคณะทำงานออกแบบและจัดสร้าง ได้ดำเนินการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลเสร็จในเวลา 7 เดือนเศษ “การประดับนพรัตน์สังวาลนั้น เป็นโบราณราชประเพณีที่กษัตริย์พระราชทานให้สร้างขึ้น และทรงคล้องนพรัตน์สังวาลพระพุทธรูปประจำเมืองที่สำคัญของประเทศ ทั้งนี้ การจัดสร้างนพรัตน์สังวาลในครั้งนี้ ถือเป็นนพรัตน์สังวาล 2 โดยชุดแรก ได้สร้างถวายที่องค์ “พระพุทธชินราช” ในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จ.พิษณุโลก สำหรับนพรัตน์สังวาลชุดนี้ได้มอบหมายให้นายธนิตย์ แก้วนิยม หัวหน้ากลุ่มช่างโลหะและช่าง ศิราภรณ์ กรมศิลปากรในฐานะหัวหน้า ผู้ออกแบบจัดสร้างนพรัตน์สังวาล คณะทำงานได้ดำเนินการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลเสร็จเรียบร้อยแล้ว มีความงดงามตามแบบ โบราณราชประเพณี” “นพรัตน์สังวาลประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช พระประธานในวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จัดสร้าง ด้วยวัสดุทองแดงชุบทองไมคอนประกอบด้วยดวงนพรัตน์สังวาล จำนวน 32 ดวง แต่ละดวงจะมีขนาดเส้นผ่า ศูนย์กลาง 9 นิ้ว เมื่อนำนพรัตน์สังวาลแต่ละดวงมาเรียงร้อยต่อกันด้วยห่วง ตะขอแล้ว นพรัตน์สังวาลทั้งชุดจะมีความยาวทั้งสิ้น 10.67 เมตร หรือ 35 ฟุต นพรัตน์สังวาลแต่ละดวงประดับด้วย พลอยหุงสีหลังเบี้ย จำนวน 9 สี ได้แก่ สีขาวใส สีแดง สีเขียว สีเหลือง สีแดงเข้ม สีเมฆหมอก สีหมอกอ่อน ๆ สีฟ้า สีเขียวแกมเหลือง เจียระไนเหลี่ยมตัดแบบเพชรโสร่ง ขนาด 20x12 มิลลิเมตร สีละ 1 เม็ด รวม 9 เม็ด และพลอยหุงสีหน้าทั่ง สีขาวใส เจียระไนเหลี่ยมเกสร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 7 มิลลิเมตร จำนวน 128 เม็ด และ ขนาด 4 มิลลิเมตร จำนวน 18 เม็ด ซึ่งเมื่อรวมพลอยที่ประดับนพรัตน์สังวาล ทั้ง 32 ดวง จะใช้พลอยหุงสี รวมทั้งสิ้น 4,960 เม็ด ใช้งบประมาณจัดสร้าง จำนวน 6,450,000 บาท ซึ่งเป็นงบประมาณที่ประชาชนช่วยกันบริจาค” ในขณะที่ นายสวัสดิ์ กฤตรัชตนันต์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชในฐานะประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวว่า การจัดสร้างนพรัตน์สังวาลเพื่อถวายประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช พระประธานในวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เพื่อเป็นการเสริมพระเกียรติแด่องค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช เนื่องจากเห็นว่าองค์พระประธานในวิหารมีความเก่าแก่มาก เป็นที่เคารพสักการะของประชาชนชาวนครศรีธรรมราช รวมทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ที่สำคัญการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลครั้งนี้ เป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 81 พรรษา นำมาซึ่งความภาคภูมิใจของชาวพุทธที่ได้มีโอกาส ร่วมเฉลิมพระเกียรติแด่พระองค์ นอกจากนี้ ประชาชนชาวนครศรีธรรมราชมีความตั้งใจที่จะร่วมกันสร้างมรดกทางวัฒนธรรมให้ปรากฏให้ลูกหลานได้สักการบูชาอีกด้วย ที่มา เดลินิวส์ออนไลน์
ราคาเปิดประมูล200 บาท
ราคาปัจจุบัน-- ยังไม่มีผู้เสนอราคา -- (!!! ปิดประมูลแล้ว !!!)
เพิ่มขึ้นครั้งละ50 บาท
วันเปิดประมูล - 01 ก.ค. 2557 - 07:57:21 น.
วันปิดประมูล - 11 ก.ค. 2557 - 07:57:21 น. (ปิดประมูลแล้ว)
ผู้ตั้งประมูลkuakran (8.5K)


(0)
ข้อมูลเพิ่มเติม 1 - 01 ก.ค. 2557 - 07:57:55 น.



เหรียญพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช รุ่นสร้างนพรัตน์สังวาล วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ.๒๕๕๒



วัตถุประสงค์ 4 ประการ

1.เพื่อเป็นเหรียญที่ระลึกในโอกาสการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลประดับพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช

2.เพื่อมอบให้กับผู้ที่ร่วมบริจาคเงินสร้างนพรัตน์สังวาล

3.เพื่อเผยแพร่บารมีของพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช

4.เพื่อให้ประชาชนชาวพุทธได้มีเหรียญพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองไว้บูชาเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต



ประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษกอย่างยิ่งใหญ่ โดยมี 10 พระเกจิอาจารย์ชื่อดังของจังหวัดนครศรีธรรมราช นำโดย อาจารย์เอื้อม กตตฺปุณโญ วัดบางเนียน อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช ร่วมอธิษฐานจิตปลุกเสก นอกจากนี้ยังได้นำเหรียญทั้งหมดไปให้ เกจิอาจารย์ปลุกเสกเดี่ยวอีกหลายวาระ เช่น อาจารย์พุ่ม กตตฺปุณโญ อายุ 103 ปี วัดดอยเจดีย์ อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช และ ในวันที่ 25 ก.ค. 2552 ตั้งแต่เวลา 16.00 น. พิธีสมโภชบริเวณลานโพธิ์ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อย่างไรก็ตาม ประชาชนที่ทราบข่าวต่างแห่จองเหรียญพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราชอย่างล้นหลาม ทำให้หมดไปภายในวันเดียว หลังจากนั้นใน ระหว่างวันที่ 30-31 กรกฎาคม 2552 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะเสด็จฯ คล้องถวายนพรัตน์สังวาลบนองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช





กรมศิลป์สร้างนพรัตน์สังวาลชุดที่ 2 ฉลอง 81 พรรษาพ่อหลวงไทย

จังหวัดนครศรีธรรมราช นอกจากจะเป็นเมืองศูนย์กลางพุทธศาสนามหานิกายสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ โดยมีองค์ “พระบรมธาตุเจดีย์ยอดทองคำ” ภายในประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าพระศาสดาของพุทธศาสนาแล้ว นครศรีธรรมราชยังมีโบราณสถานโบราณวัตถุเก่าแก่ที่เป็นสัญลักษณ์ของพุทธศาสนากระจายอยู่ตามพื้นที่ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก ซึ่งหากพูดถึงพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองนครศรีธรรมราช คนทั่วไปก็จะนึกถึง “พระพุทธสิหิงค์” ทันที โดยอาจมีไม่มากนักที่จะ รู้ว่านอกจากพระพุทธสิหิงค์แล้ว นครศรีธรรมราชยังมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ล้ำค่า และเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองอีกองค์หนึ่ง ซึ่งมีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าพระพุทธสิหิงค์ พระพุทธรูปองค์ ดังกล่าวคือ “พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช” พระประธานในวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหารนั่นเอง “พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช” เป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่ปางมารวิชัย ก่ออิฐถือปูนลงรักปิดทอง ขนาดหน้าตักกว้าง 3 วา 1 ศอก 12 นิ้ว สูง 5 วา ประทับนั่งเป็นพระประธานในพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่มีขนาดใหญ่มาก สันนิษฐานว่าสร้างในช่วงปี พ.ศ.1998-2006 (อยุธยาตอนต้น) เป็นพระพุทธรูปที่มีพระพักตร์ที่เปล่งปลั่ง แย้มพระโอษฐ์ ทอดสายพระเนตรลงมาเปี่ยมด้วยพระเมตตาและสงบเย็น โดยเบื้องหน้าพระประธานมีพระพุทธรูปพระสาวกซ้ายขวา คือ พระโมคคัลลนะและพระสารีบุตร นอกจากนี้ยังมีพระพุทธรูปยืนอีกหลายองค์ ส่วนพระวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ที่ประดิษฐานพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช เป็นวิหารที่เก่าแก่มากสร้างตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นของคู่กันมากับพระมหาธาตุเจดีย์ โดยชาวลังกาเป็นผู้เข้ามาก่อสร้างและบำรุงรักษาตลอดมา โดยในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้มีการบูรณะซ่อมแซมและขยายพระวิหารให้กว้างขวางขึ้นพระวิหารหลวงจึงมีลักษณะ เป็นแบบอาคารที่นิยมสร้างกันในสมัยกรุงศรีอยุธยาคือตั้งเสาเอนปลายสอบเข้าหากันทำให้ดูอ่อนช้อยงดงาม โดยหน้าบันเป็นไม้แกะสลักด้านหน้าเป็นรูปช้างสามเศียร ด้านหลังเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ เพดานเขียนลายไทยปิดทอง มีลายดาวเป็นแฉกรัศมีงดงาม ในช่วง “วันวิสาขบูชา” วันที่ 8 พ.ค. 2552 ที่ผ่านมา นายเกรียงไกร สัมปัชชลิต อธิบดีกรมศิลปากร พร้อมคณะจากกรมศิลปากรได้เดินทางมายังลานโพธิ์ หาดทรายแก้ว วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เพื่อทำพิธีมอบนพรัตน์สังวาลประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราชพระประธานในวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ให้กับสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช และวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร โดยมี นายภาณุ อุทัยรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ว่าที่ ร.ต. ฐิตวัฒน์ เชาวลิต รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช พระเทพ วินยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุฯ นายสวัสดิ์ กฤตรัชตนันต์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช และ ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏจังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมรับมอบนพรัตน์สังวาล อธิบดีกรมศิลปากร เปิดเผยว่า เมื่อปี 2551 สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมกับวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร และประชาชนใน จ.นครศรีธรรมราช ได้ประสานไปยังกรมศิลปากร ในการดำเนินการจัดสร้างนพรัตน์สังวาล ประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราชพระประธานในวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร โดยกรมศิลปากรได้มอบหมายให้สำนักช่างสิบหมู่ดำเนินการจัดสร้าง โดยมี นาย ธนิตย์ แก้วนิยม หัวหน้ากลุ่มช่างโลหะและช่างศิราภรณ์ เป็นหัวหน้าคณะทำงานออกแบบและจัดสร้าง ได้ดำเนินการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลเสร็จในเวลา 7 เดือนเศษ “การประดับนพรัตน์สังวาลนั้น เป็นโบราณราชประเพณีที่กษัตริย์พระราชทานให้สร้างขึ้น และทรงคล้องนพรัตน์สังวาลพระพุทธรูปประจำเมืองที่สำคัญของประเทศ ทั้งนี้ การจัดสร้างนพรัตน์สังวาลในครั้งนี้ ถือเป็นนพรัตน์สังวาล 2 โดยชุดแรก ได้สร้างถวายที่องค์ “พระพุทธชินราช” ในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จ.พิษณุโลก สำหรับนพรัตน์สังวาลชุดนี้ได้มอบหมายให้นายธนิตย์ แก้วนิยม หัวหน้ากลุ่มช่างโลหะและช่าง ศิราภรณ์ กรมศิลปากรในฐานะหัวหน้า ผู้ออกแบบจัดสร้างนพรัตน์สังวาล คณะทำงานได้ดำเนินการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลเสร็จเรียบร้อยแล้ว มีความงดงามตามแบบ โบราณราชประเพณี” “นพรัตน์สังวาลประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช พระประธานในวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จัดสร้าง ด้วยวัสดุทองแดงชุบทองไมคอนประกอบด้วยดวงนพรัตน์สังวาล จำนวน 32 ดวง แต่ละดวงจะมีขนาดเส้นผ่า ศูนย์กลาง 9 นิ้ว เมื่อนำนพรัตน์สังวาลแต่ละดวงมาเรียงร้อยต่อกันด้วยห่วง ตะขอแล้ว นพรัตน์สังวาลทั้งชุดจะมีความยาวทั้งสิ้น 10.67 เมตร หรือ 35 ฟุต นพรัตน์สังวาลแต่ละดวงประดับด้วย พลอยหุงสีหลังเบี้ย จำนวน 9 สี ได้แก่ สีขาวใส สีแดง สีเขียว สีเหลือง สีแดงเข้ม สีเมฆหมอก สีหมอกอ่อน ๆ สีฟ้า สีเขียวแกมเหลือง เจียระไนเหลี่ยมตัดแบบเพชรโสร่ง ขนาด 20x12 มิลลิเมตร สีละ 1 เม็ด รวม 9 เม็ด และพลอยหุงสีหน้าทั่ง สีขาวใส เจียระไนเหลี่ยมเกสร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 7 มิลลิเมตร จำนวน 128 เม็ด และ ขนาด 4 มิลลิเมตร จำนวน 18 เม็ด ซึ่งเมื่อรวมพลอยที่ประดับนพรัตน์สังวาล ทั้ง 32 ดวง จะใช้พลอยหุงสี รวมทั้งสิ้น 4,960 เม็ด ใช้งบประมาณจัดสร้าง จำนวน 6,450,000 บาท ซึ่งเป็นงบประมาณที่ประชาชนช่วยกันบริจาค” ในขณะที่ นายสวัสดิ์ กฤตรัชตนันต์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชในฐานะประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวว่า การจัดสร้างนพรัตน์สังวาลเพื่อถวายประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช พระประธานในวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เพื่อเป็นการเสริมพระเกียรติแด่องค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช เนื่องจากเห็นว่าองค์พระประธานในวิหารมีความเก่าแก่มาก เป็นที่เคารพสักการะของประชาชนชาวนครศรีธรรมราช รวมทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ที่สำคัญการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลครั้งนี้ เป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 81 พรรษา นำมาซึ่งความภาคภูมิใจของชาวพุทธที่ได้มีโอกาส ร่วมเฉลิมพระเกียรติแด่พระองค์ นอกจากนี้ ประชาชนชาวนครศรีธรรมราชมีความตั้งใจที่จะร่วมกันสร้างมรดกทางวัฒนธรรมให้ปรากฏให้ลูกหลานได้สักการบูชาอีกด้วย ที่มา เดลินิวส์ออนไลน์


ข้อมูลเพิ่มเติม 2 - 01 ก.ค. 2557 - 07:58:55 น.



เหรียญพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช รุ่นสร้างนพรัตน์สังวาล วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ.๒๕๕๒



วัตถุประสงค์ 4 ประการ

1.เพื่อเป็นเหรียญที่ระลึกในโอกาสการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลประดับพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช

2.เพื่อมอบให้กับผู้ที่ร่วมบริจาคเงินสร้างนพรัตน์สังวาล

3.เพื่อเผยแพร่บารมีของพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช

4.เพื่อให้ประชาชนชาวพุทธได้มีเหรียญพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองไว้บูชาเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต



ประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษกอย่างยิ่งใหญ่ โดยมี 10 พระเกจิอาจารย์ชื่อดังของจังหวัดนครศรีธรรมราช นำโดย อาจารย์เอื้อม กตตฺปุณโญ วัดบางเนียน อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช ร่วมอธิษฐานจิตปลุกเสก นอกจากนี้ยังได้นำเหรียญทั้งหมดไปให้ เกจิอาจารย์ปลุกเสกเดี่ยวอีกหลายวาระ เช่น อาจารย์พุ่ม กตตฺปุณโญ อายุ 103 ปี วัดดอยเจดีย์ อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช และ ในวันที่ 25 ก.ค. 2552 ตั้งแต่เวลา 16.00 น. พิธีสมโภชบริเวณลานโพธิ์ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อย่างไรก็ตาม ประชาชนที่ทราบข่าวต่างแห่จองเหรียญพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราชอย่างล้นหลาม ทำให้หมดไปภายในวันเดียว หลังจากนั้นใน ระหว่างวันที่ 30-31 กรกฎาคม 2552 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะเสด็จฯ คล้องถวายนพรัตน์สังวาลบนองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช





กรมศิลป์สร้างนพรัตน์สังวาลชุดที่ 2 ฉลอง 81 พรรษาพ่อหลวงไทย

จังหวัดนครศรีธรรมราช นอกจากจะเป็นเมืองศูนย์กลางพุทธศาสนามหานิกายสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ โดยมีองค์ “พระบรมธาตุเจดีย์ยอดทองคำ” ภายในประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าพระศาสดาของพุทธศาสนาแล้ว นครศรีธรรมราชยังมีโบราณสถานโบราณวัตถุเก่าแก่ที่เป็นสัญลักษณ์ของพุทธศาสนากระจายอยู่ตามพื้นที่ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก ซึ่งหากพูดถึงพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองนครศรีธรรมราช คนทั่วไปก็จะนึกถึง “พระพุทธสิหิงค์” ทันที โดยอาจมีไม่มากนักที่จะ รู้ว่านอกจากพระพุทธสิหิงค์แล้ว นครศรีธรรมราชยังมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ล้ำค่า และเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองอีกองค์หนึ่ง ซึ่งมีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าพระพุทธสิหิงค์ พระพุทธรูปองค์ ดังกล่าวคือ “พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช” พระประธานในวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหารนั่นเอง “พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช” เป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่ปางมารวิชัย ก่ออิฐถือปูนลงรักปิดทอง ขนาดหน้าตักกว้าง 3 วา 1 ศอก 12 นิ้ว สูง 5 วา ประทับนั่งเป็นพระประธานในพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่มีขนาดใหญ่มาก สันนิษฐานว่าสร้างในช่วงปี พ.ศ.1998-2006 (อยุธยาตอนต้น) เป็นพระพุทธรูปที่มีพระพักตร์ที่เปล่งปลั่ง แย้มพระโอษฐ์ ทอดสายพระเนตรลงมาเปี่ยมด้วยพระเมตตาและสงบเย็น โดยเบื้องหน้าพระประธานมีพระพุทธรูปพระสาวกซ้ายขวา คือ พระโมคคัลลนะและพระสารีบุตร นอกจากนี้ยังมีพระพุทธรูปยืนอีกหลายองค์ ส่วนพระวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ที่ประดิษฐานพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช เป็นวิหารที่เก่าแก่มากสร้างตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นของคู่กันมากับพระมหาธาตุเจดีย์ โดยชาวลังกาเป็นผู้เข้ามาก่อสร้างและบำรุงรักษาตลอดมา โดยในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้มีการบูรณะซ่อมแซมและขยายพระวิหารให้กว้างขวางขึ้นพระวิหารหลวงจึงมีลักษณะ เป็นแบบอาคารที่นิยมสร้างกันในสมัยกรุงศรีอยุธยาคือตั้งเสาเอนปลายสอบเข้าหากันทำให้ดูอ่อนช้อยงดงาม โดยหน้าบันเป็นไม้แกะสลักด้านหน้าเป็นรูปช้างสามเศียร ด้านหลังเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ เพดานเขียนลายไทยปิดทอง มีลายดาวเป็นแฉกรัศมีงดงาม ในช่วง “วันวิสาขบูชา” วันที่ 8 พ.ค. 2552 ที่ผ่านมา นายเกรียงไกร สัมปัชชลิต อธิบดีกรมศิลปากร พร้อมคณะจากกรมศิลปากรได้เดินทางมายังลานโพธิ์ หาดทรายแก้ว วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เพื่อทำพิธีมอบนพรัตน์สังวาลประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราชพระประธานในวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ให้กับสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช และวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร โดยมี นายภาณุ อุทัยรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ว่าที่ ร.ต. ฐิตวัฒน์ เชาวลิต รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช พระเทพ วินยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุฯ นายสวัสดิ์ กฤตรัชตนันต์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช และ ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏจังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมรับมอบนพรัตน์สังวาล อธิบดีกรมศิลปากร เปิดเผยว่า เมื่อปี 2551 สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมกับวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร และประชาชนใน จ.นครศรีธรรมราช ได้ประสานไปยังกรมศิลปากร ในการดำเนินการจัดสร้างนพรัตน์สังวาล ประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราชพระประธานในวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร โดยกรมศิลปากรได้มอบหมายให้สำนักช่างสิบหมู่ดำเนินการจัดสร้าง โดยมี นาย ธนิตย์ แก้วนิยม หัวหน้ากลุ่มช่างโลหะและช่างศิราภรณ์ เป็นหัวหน้าคณะทำงานออกแบบและจัดสร้าง ได้ดำเนินการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลเสร็จในเวลา 7 เดือนเศษ “การประดับนพรัตน์สังวาลนั้น เป็นโบราณราชประเพณีที่กษัตริย์พระราชทานให้สร้างขึ้น และทรงคล้องนพรัตน์สังวาลพระพุทธรูปประจำเมืองที่สำคัญของประเทศ ทั้งนี้ การจัดสร้างนพรัตน์สังวาลในครั้งนี้ ถือเป็นนพรัตน์สังวาล 2 โดยชุดแรก ได้สร้างถวายที่องค์ “พระพุทธชินราช” ในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จ.พิษณุโลก สำหรับนพรัตน์สังวาลชุดนี้ได้มอบหมายให้นายธนิตย์ แก้วนิยม หัวหน้ากลุ่มช่างโลหะและช่าง ศิราภรณ์ กรมศิลปากรในฐานะหัวหน้า ผู้ออกแบบจัดสร้างนพรัตน์สังวาล คณะทำงานได้ดำเนินการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลเสร็จเรียบร้อยแล้ว มีความงดงามตามแบบ โบราณราชประเพณี” “นพรัตน์สังวาลประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช พระประธานในวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จัดสร้าง ด้วยวัสดุทองแดงชุบทองไมคอนประกอบด้วยดวงนพรัตน์สังวาล จำนวน 32 ดวง แต่ละดวงจะมีขนาดเส้นผ่า ศูนย์กลาง 9 นิ้ว เมื่อนำนพรัตน์สังวาลแต่ละดวงมาเรียงร้อยต่อกันด้วยห่วง ตะขอแล้ว นพรัตน์สังวาลทั้งชุดจะมีความยาวทั้งสิ้น 10.67 เมตร หรือ 35 ฟุต นพรัตน์สังวาลแต่ละดวงประดับด้วย พลอยหุงสีหลังเบี้ย จำนวน 9 สี ได้แก่ สีขาวใส สีแดง สีเขียว สีเหลือง สีแดงเข้ม สีเมฆหมอก สีหมอกอ่อน ๆ สีฟ้า สีเขียวแกมเหลือง เจียระไนเหลี่ยมตัดแบบเพชรโสร่ง ขนาด 20x12 มิลลิเมตร สีละ 1 เม็ด รวม 9 เม็ด และพลอยหุงสีหน้าทั่ง สีขาวใส เจียระไนเหลี่ยมเกสร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 7 มิลลิเมตร จำนวน 128 เม็ด และ ขนาด 4 มิลลิเมตร จำนวน 18 เม็ด ซึ่งเมื่อรวมพลอยที่ประดับนพรัตน์สังวาล ทั้ง 32 ดวง จะใช้พลอยหุงสี รวมทั้งสิ้น 4,960 เม็ด ใช้งบประมาณจัดสร้าง จำนวน 6,450,000 บาท ซึ่งเป็นงบประมาณที่ประชาชนช่วยกันบริจาค” ในขณะที่ นายสวัสดิ์ กฤตรัชตนันต์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชในฐานะประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวว่า การจัดสร้างนพรัตน์สังวาลเพื่อถวายประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช พระประธานในวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เพื่อเป็นการเสริมพระเกียรติแด่องค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช เนื่องจากเห็นว่าองค์พระประธานในวิหารมีความเก่าแก่มาก เป็นที่เคารพสักการะของประชาชนชาวนครศรีธรรมราช รวมทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ที่สำคัญการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลครั้งนี้ เป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 81 พรรษา นำมาซึ่งความภาคภูมิใจของชาวพุทธที่ได้มีโอกาส ร่วมเฉลิมพระเกียรติแด่พระองค์ นอกจากนี้ ประชาชนชาวนครศรีธรรมราชมีความตั้งใจที่จะร่วมกันสร้างมรดกทางวัฒนธรรมให้ปรากฏให้ลูกหลานได้สักการบูชาอีกด้วย ที่มา เดลินิวส์ออนไลน์


ข้อมูลเพิ่มเติม 3 - 01 ก.ค. 2557 - 07:59:16 น.



เหรียญพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช รุ่นสร้างนพรัตน์สังวาล วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ.๒๕๕๒



วัตถุประสงค์ 4 ประการ

1.เพื่อเป็นเหรียญที่ระลึกในโอกาสการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลประดับพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช

2.เพื่อมอบให้กับผู้ที่ร่วมบริจาคเงินสร้างนพรัตน์สังวาล

3.เพื่อเผยแพร่บารมีของพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช

4.เพื่อให้ประชาชนชาวพุทธได้มีเหรียญพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองไว้บูชาเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต



ประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษกอย่างยิ่งใหญ่ โดยมี 10 พระเกจิอาจารย์ชื่อดังของจังหวัดนครศรีธรรมราช นำโดย อาจารย์เอื้อม กตตฺปุณโญ วัดบางเนียน อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช ร่วมอธิษฐานจิตปลุกเสก นอกจากนี้ยังได้นำเหรียญทั้งหมดไปให้ เกจิอาจารย์ปลุกเสกเดี่ยวอีกหลายวาระ เช่น อาจารย์พุ่ม กตตฺปุณโญ อายุ 103 ปี วัดดอยเจดีย์ อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช และ ในวันที่ 25 ก.ค. 2552 ตั้งแต่เวลา 16.00 น. พิธีสมโภชบริเวณลานโพธิ์ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อย่างไรก็ตาม ประชาชนที่ทราบข่าวต่างแห่จองเหรียญพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราชอย่างล้นหลาม ทำให้หมดไปภายในวันเดียว หลังจากนั้นใน ระหว่างวันที่ 30-31 กรกฎาคม 2552 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะเสด็จฯ คล้องถวายนพรัตน์สังวาลบนองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช





กรมศิลป์สร้างนพรัตน์สังวาลชุดที่ 2 ฉลอง 81 พรรษาพ่อหลวงไทย

จังหวัดนครศรีธรรมราช นอกจากจะเป็นเมืองศูนย์กลางพุทธศาสนามหานิกายสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ โดยมีองค์ “พระบรมธาตุเจดีย์ยอดทองคำ” ภายในประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าพระศาสดาของพุทธศาสนาแล้ว นครศรีธรรมราชยังมีโบราณสถานโบราณวัตถุเก่าแก่ที่เป็นสัญลักษณ์ของพุทธศาสนากระจายอยู่ตามพื้นที่ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก ซึ่งหากพูดถึงพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองนครศรีธรรมราช คนทั่วไปก็จะนึกถึง “พระพุทธสิหิงค์” ทันที โดยอาจมีไม่มากนักที่จะ รู้ว่านอกจากพระพุทธสิหิงค์แล้ว นครศรีธรรมราชยังมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ล้ำค่า และเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองอีกองค์หนึ่ง ซึ่งมีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าพระพุทธสิหิงค์ พระพุทธรูปองค์ ดังกล่าวคือ “พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช” พระประธานในวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหารนั่นเอง “พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช” เป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่ปางมารวิชัย ก่ออิฐถือปูนลงรักปิดทอง ขนาดหน้าตักกว้าง 3 วา 1 ศอก 12 นิ้ว สูง 5 วา ประทับนั่งเป็นพระประธานในพระวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่มีขนาดใหญ่มาก สันนิษฐานว่าสร้างในช่วงปี พ.ศ.1998-2006 (อยุธยาตอนต้น) เป็นพระพุทธรูปที่มีพระพักตร์ที่เปล่งปลั่ง แย้มพระโอษฐ์ ทอดสายพระเนตรลงมาเปี่ยมด้วยพระเมตตาและสงบเย็น โดยเบื้องหน้าพระประธานมีพระพุทธรูปพระสาวกซ้ายขวา คือ พระโมคคัลลนะและพระสารีบุตร นอกจากนี้ยังมีพระพุทธรูปยืนอีกหลายองค์ ส่วนพระวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ที่ประดิษฐานพระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช เป็นวิหารที่เก่าแก่มากสร้างตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นของคู่กันมากับพระมหาธาตุเจดีย์ โดยชาวลังกาเป็นผู้เข้ามาก่อสร้างและบำรุงรักษาตลอดมา โดยในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้มีการบูรณะซ่อมแซมและขยายพระวิหารให้กว้างขวางขึ้นพระวิหารหลวงจึงมีลักษณะ เป็นแบบอาคารที่นิยมสร้างกันในสมัยกรุงศรีอยุธยาคือตั้งเสาเอนปลายสอบเข้าหากันทำให้ดูอ่อนช้อยงดงาม โดยหน้าบันเป็นไม้แกะสลักด้านหน้าเป็นรูปช้างสามเศียร ด้านหลังเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ เพดานเขียนลายไทยปิดทอง มีลายดาวเป็นแฉกรัศมีงดงาม ในช่วง “วันวิสาขบูชา” วันที่ 8 พ.ค. 2552 ที่ผ่านมา นายเกรียงไกร สัมปัชชลิต อธิบดีกรมศิลปากร พร้อมคณะจากกรมศิลปากรได้เดินทางมายังลานโพธิ์ หาดทรายแก้ว วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เพื่อทำพิธีมอบนพรัตน์สังวาลประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราชพระประธานในวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ให้กับสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช และวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร โดยมี นายภาณุ อุทัยรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช ว่าที่ ร.ต. ฐิตวัฒน์ เชาวลิต รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช พระเทพ วินยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุฯ นายสวัสดิ์ กฤตรัชตนันต์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช และ ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏจังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมรับมอบนพรัตน์สังวาล อธิบดีกรมศิลปากร เปิดเผยว่า เมื่อปี 2551 สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช ร่วมกับวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร และประชาชนใน จ.นครศรีธรรมราช ได้ประสานไปยังกรมศิลปากร ในการดำเนินการจัดสร้างนพรัตน์สังวาล ประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราชพระประธานในวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร โดยกรมศิลปากรได้มอบหมายให้สำนักช่างสิบหมู่ดำเนินการจัดสร้าง โดยมี นาย ธนิตย์ แก้วนิยม หัวหน้ากลุ่มช่างโลหะและช่างศิราภรณ์ เป็นหัวหน้าคณะทำงานออกแบบและจัดสร้าง ได้ดำเนินการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลเสร็จในเวลา 7 เดือนเศษ “การประดับนพรัตน์สังวาลนั้น เป็นโบราณราชประเพณีที่กษัตริย์พระราชทานให้สร้างขึ้น และทรงคล้องนพรัตน์สังวาลพระพุทธรูปประจำเมืองที่สำคัญของประเทศ ทั้งนี้ การจัดสร้างนพรัตน์สังวาลในครั้งนี้ ถือเป็นนพรัตน์สังวาล 2 โดยชุดแรก ได้สร้างถวายที่องค์ “พระพุทธชินราช” ในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จ.พิษณุโลก สำหรับนพรัตน์สังวาลชุดนี้ได้มอบหมายให้นายธนิตย์ แก้วนิยม หัวหน้ากลุ่มช่างโลหะและช่าง ศิราภรณ์ กรมศิลปากรในฐานะหัวหน้า ผู้ออกแบบจัดสร้างนพรัตน์สังวาล คณะทำงานได้ดำเนินการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลเสร็จเรียบร้อยแล้ว มีความงดงามตามแบบ โบราณราชประเพณี” “นพรัตน์สังวาลประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช พระประธานในวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จัดสร้าง ด้วยวัสดุทองแดงชุบทองไมคอนประกอบด้วยดวงนพรัตน์สังวาล จำนวน 32 ดวง แต่ละดวงจะมีขนาดเส้นผ่า ศูนย์กลาง 9 นิ้ว เมื่อนำนพรัตน์สังวาลแต่ละดวงมาเรียงร้อยต่อกันด้วยห่วง ตะขอแล้ว นพรัตน์สังวาลทั้งชุดจะมีความยาวทั้งสิ้น 10.67 เมตร หรือ 35 ฟุต นพรัตน์สังวาลแต่ละดวงประดับด้วย พลอยหุงสีหลังเบี้ย จำนวน 9 สี ได้แก่ สีขาวใส สีแดง สีเขียว สีเหลือง สีแดงเข้ม สีเมฆหมอก สีหมอกอ่อน ๆ สีฟ้า สีเขียวแกมเหลือง เจียระไนเหลี่ยมตัดแบบเพชรโสร่ง ขนาด 20x12 มิลลิเมตร สีละ 1 เม็ด รวม 9 เม็ด และพลอยหุงสีหน้าทั่ง สีขาวใส เจียระไนเหลี่ยมเกสร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 7 มิลลิเมตร จำนวน 128 เม็ด และ ขนาด 4 มิลลิเมตร จำนวน 18 เม็ด ซึ่งเมื่อรวมพลอยที่ประดับนพรัตน์สังวาล ทั้ง 32 ดวง จะใช้พลอยหุงสี รวมทั้งสิ้น 4,960 เม็ด ใช้งบประมาณจัดสร้าง จำนวน 6,450,000 บาท ซึ่งเป็นงบประมาณที่ประชาชนช่วยกันบริจาค” ในขณะที่ นายสวัสดิ์ กฤตรัชตนันต์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชในฐานะประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช กล่าวว่า การจัดสร้างนพรัตน์สังวาลเพื่อถวายประดับองค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช พระประธานในวิหารหลวง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เพื่อเป็นการเสริมพระเกียรติแด่องค์พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช เนื่องจากเห็นว่าองค์พระประธานในวิหารมีความเก่าแก่มาก เป็นที่เคารพสักการะของประชาชนชาวนครศรีธรรมราช รวมทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ที่สำคัญการจัดสร้างนพรัตน์สังวาลครั้งนี้ เป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 81 พรรษา นำมาซึ่งความภาคภูมิใจของชาวพุทธที่ได้มีโอกาส ร่วมเฉลิมพระเกียรติแด่พระองค์ นอกจากนี้ ประชาชนชาวนครศรีธรรมราชมีความตั้งใจที่จะร่วมกันสร้างมรดกทางวัฒนธรรมให้ปรากฏให้ลูกหลานได้สักการบูชาอีกด้วย ที่มา เดลินิวส์ออนไลน์


 
ราคาปัจจุบัน :     200 บาท
เพิ่มขึ้นครั้งละ :     50 บาท

!!! ท่านต้อง login เข้าสู่ระบบก่อน จึงจะสามารถร่วมประมูลได้ !!!


 

Copyright ©G-PRA.COM