(0)
หายากมากๆครับ พระสามสมัย วัดเวฬุวนาราม จังหวัดนครปฐม ที่ระลึกในการเสด็จพระราชกุศลวางศิลาโบสถ์ 5 ตุลาคม 2520 หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร เจ้าอาวาสวัดเวฬุวนาราม จัดสร้างปลุกเสกพิธีใหญ่มากครับในหลวงทรงเสด็จ








รายงานผลโหวต

จากรูปพระแท้ 0% [0]
จากรูปพระแท้แต่ข้อมูลไม่ถูกต้อง     0% [0]
จากรูปพระเก๊ 0% [0]
พระดูยากจากรูป 0% [0]

จำนวน โหวต



ชื่อพระเครื่องหายากมากๆครับ พระสามสมัย วัดเวฬุวนาราม จังหวัดนครปฐม ที่ระลึกในการเสด็จพระราชกุศลวางศิลาโบสถ์ 5 ตุลาคม 2520 หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร เจ้าอาวาสวัดเวฬุวนาราม จัดสร้างปลุกเสกพิธีใหญ่มากครับในหลวงทรงเสด็จ
รายละเอียดหายากมากๆครับ พระสามสมัย วัดเวฬุวนาราม จังหวัดนครปฐม ที่ระลึกในการเสด็จพระราชกุศลวางศิลาโบสถ์ 5 ตุลาคม 2520 หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร เจ้าอาวาสวัดเวฬุวนาราม จัดสร้างปลุกเสกพิธีใหญ่มากครับ ในหลวงทรงเสด็จมา ถวายผ้าไตรจีวร
ประวัติพระครูสถาพรพุทธมนต์
หรือ หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร
วัดเวฬุวนาราม อ.บางเลน จ.นครปฐม
พระเกจิดังแห่งเมืองนครปฐม ท่านศึกษาวิชาสายหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า จ.ชัยนาท
หลวงพ่อสำเนียง ประสูติเมื่อวันที่ 5 ต.ค. 2460 ตรงกับวันศุกร์ ปีมะเส็ง แรม 4 ค่ำ เป็นพระโอรสในพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ และหม่อมทองนุ่น
เมื่อตั้งครรภ์ได้ 2 เดือน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ได้รับพระบรมราชโองการจากรัชกาลที่ 6 ให้ไปซื้อเรือพระร่วงที่ประเทศอังกฤษ จึงนำหม่อมทองนุ่น ไปฝากหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
ครั้นท่านประสูติ หลวงปู่ศุข จึงตั้งนามว่า "สำเนียง" แปลว่า "เสียง" เมื่อเสด็จพ่อทรงทราบจึงพระราชทานนามว่า "หม่อมเจ้าสถาพร อาภากร"
ประสูติได้ 7 วัน หม่อมทองนุ่นเสียชีวิต จนมีพระชันษาได้ 6 ปี เสด็จพ่อก็สิ้น พระชนม์ ในวังเริ่มระส่ำระสาย นายเอมพระสหายของเสด็จพ่อนำไปฝากไว้กับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพา พระขนิษฐาของเสด็จพ่อ ส่งให้ไปศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญบางรัก จบมัธยมปีที่ 8 ต่อมาศึกษาโรงเรียนนายร้อย จปร. เข้ารับราชการทหารที่กรมสื่อสารทหารบก ยศร้อยเอกดำรงตำแหน่งผู้บังคับกองต่างประเทศในหน้าที่แปลข่าวสารต่างประเทศ และได้ร่วมรบในสงครามอินโดจีน สงครามมหาเอเชียบูรพา
พอกลับจากศึกสงคราม ก็ถูกมรสุมร้ายทางการเมืองกระทำ ต้องถูกจองจำพร้อมกับจอมพลป.พิบูลสงคราม-หลวงเสรี-หลวงวิจิตรวาทการ และคนอื่นๆ ในข้อหาอาชญากรสงคราม เมื่อได้รับการปลดปล่อยหลวงเสรีได้ไปบวชที่วัดเบญจมบพิตร ส่วนหลวงพ่อสำเนียงท่านไปบวชอยู่ที่วัดกัลยาณมิตร ฝั่งธนบุรี
ท่านตั้งใจบวชเพียง 15 วัน แต่พอบวชได้ 3 วัน มีเหตุการณ์การเมืองขึ้นมาอีก จึงทำให้ท่านเปลี่ยนความตั้งใจ เหตุการณ์บ้านเมืองกำลังยุ่งเหยิง จอมพลป.พิบูลสงคราม ได้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกวาระหนึ่ง แต่ต้องการให้หลวงพ่อสำเนียงกลับไปรับราชการอีก ทว่าท่านไม่ยอมสึก ทั้งได้ตั้งจิตอธิษฐานไว้ว่าจะขอยึดเอาผ้ากาสาวพัสตร์หุ้มห่อร่างกายจนกระทั่งตาย
ดังนั้น จึงมุ่งสู่ชนบท ได้เห็นวัดแหลมชะอุย คือ "วัดเวฬุวนาราม" ในปัจจุบัน
ชื่อเสียงของหลวงพ่อสำเนียงอีกด้าน คือ การรักษาโรคและยังเป็นพระนักพัฒนา ได้พัฒนาวัดเวฬุวนาราม และสร้างโรงเรียนสถาพรวิทยา ให้เด็กในชุมชนได้มีโรงเรียนศึกษา ตั้งมูลนิธิช่วยเหลือเด็กกำพร้า
พ.ศ.2523 รับโล่ทำคุณประโยชน์ต่อประเทศชาติดีเด่นเป็นพิเศษ ของมูลนิธิสรรพวรรณิต จากพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ปี 2527 รับโล่สดุดี "นักสังคมสงเคราะห์ดีเด่นประจำปี" จากมูลนิธิศาสตราจารย์ ปกรณ์ อังศุสิงห์
พ.ศ.2528 สำนักนายกรัฐมนตรีประกาศสดุดีให้พระครูสถาพรพุทธมนต์ เป็นพระดีเด่นประจำชาติ และปูชนียบุคคลที่นั่งอยู่ในหัวใจคนทั้งชาติ
หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร
มรณภาพเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2531
สิริอายุรวม 71 ปี
วัตถุมงคลยอดนิยมของหลวงพ่อสำเนียง ส่วนใหญ่จะเป็นประเภทเหรียญ ซึ่งมีอยู่หลายรุ่น ส่วนประเภทเนื้อผง คือ "พระสมเด็จนะฤๅชา" ที่อัดแน่นด้วยมวล สารศักดิ์สิทธิ์ และผ่านการปลุกเสกถึง 2 ครั้ง โดยร่วมในพิธีพระเครื่อง 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ.2500 ที่มีสุดยอดคณาจารย์ 108 รูปอธิษฐานจิต
ครั้งแรกได้ผ่านการอธิษฐานจิตปลุกเสกเมื่อตอนจัดสร้างเสร็จ โดยหลวงพ่อสำเนียง เป็นประธานในพิธี ครั้งที่ 2 หลวงพ่อสำเนียง นำไปร่วมปลุกเสกในพิธีพระเครื่อง 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ.2500 โดยมียอดพระเกจิอาจารย์แห่งยุคร่วมปลุกเสก อาทิ หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ, หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี, หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก, หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา, หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม เป็นต้น รวมทั้งตัวหลวงพ่อสำเนียง
ราคาเปิดประมูล280 บาท
ราคาปัจจุบัน840 บาท (!!! ปิดประมูลแล้ว !!!)
เพิ่มขึ้นครั้งละ20 บาท
วันเปิดประมูล - 22 ส.ค. 2566 - 18:15:01 น.
วันปิดประมูล - 23 ส.ค. 2566 - 21:53:29 น. (ปิดประมูลแล้ว)
ผู้ตั้งประมูลJeab_Sirin (1.9K)


(0)
ข้อมูลเพิ่มเติม 1 - 22 ส.ค. 2566 - 18:15:25 น.



หายากมากๆครับ พระสามสมัย วัดเวฬุวนาราม จังหวัดนครปฐม ที่ระลึกในการเสด็จพระราชกุศลวางศิลาโบสถ์ 5 ตุลาคม 2520 หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร เจ้าอาวาสวัดเวฬุวนาราม จัดสร้างปลุกเสกพิธีใหญ่มากครับ ในหลวงทรงเสด็จมา ถวายผ้าไตรจีวร
ประวัติพระครูสถาพรพุทธมนต์
หรือ หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร
วัดเวฬุวนาราม อ.บางเลน จ.นครปฐม
พระเกจิดังแห่งเมืองนครปฐม ท่านศึกษาวิชาสายหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า จ.ชัยนาท
หลวงพ่อสำเนียง ประสูติเมื่อวันที่ 5 ต.ค. 2460 ตรงกับวันศุกร์ ปีมะเส็ง แรม 4 ค่ำ เป็นพระโอรสในพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ และหม่อมทองนุ่น
เมื่อตั้งครรภ์ได้ 2 เดือน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ได้รับพระบรมราชโองการจากรัชกาลที่ 6 ให้ไปซื้อเรือพระร่วงที่ประเทศอังกฤษ จึงนำหม่อมทองนุ่น ไปฝากหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
ครั้นท่านประสูติ หลวงปู่ศุข จึงตั้งนามว่า "สำเนียง" แปลว่า "เสียง" เมื่อเสด็จพ่อทรงทราบจึงพระราชทานนามว่า "หม่อมเจ้าสถาพร อาภากร"
ประสูติได้ 7 วัน หม่อมทองนุ่นเสียชีวิต จนมีพระชันษาได้ 6 ปี เสด็จพ่อก็สิ้น พระชนม์ ในวังเริ่มระส่ำระสาย นายเอมพระสหายของเสด็จพ่อนำไปฝากไว้กับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพา พระขนิษฐาของเสด็จพ่อ ส่งให้ไปศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญบางรัก จบมัธยมปีที่ 8 ต่อมาศึกษาโรงเรียนนายร้อย จปร. เข้ารับราชการทหารที่กรมสื่อสารทหารบก ยศร้อยเอกดำรงตำแหน่งผู้บังคับกองต่างประเทศในหน้าที่แปลข่าวสารต่างประเทศ และได้ร่วมรบในสงครามอินโดจีน สงครามมหาเอเชียบูรพา
พอกลับจากศึกสงคราม ก็ถูกมรสุมร้ายทางการเมืองกระทำ ต้องถูกจองจำพร้อมกับจอมพลป.พิบูลสงคราม-หลวงเสรี-หลวงวิจิตรวาทการ และคนอื่นๆ ในข้อหาอาชญากรสงคราม เมื่อได้รับการปลดปล่อยหลวงเสรีได้ไปบวชที่วัดเบญจมบพิตร ส่วนหลวงพ่อสำเนียงท่านไปบวชอยู่ที่วัดกัลยาณมิตร ฝั่งธนบุรี
ท่านตั้งใจบวชเพียง 15 วัน แต่พอบวชได้ 3 วัน มีเหตุการณ์การเมืองขึ้นมาอีก จึงทำให้ท่านเปลี่ยนความตั้งใจ เหตุการณ์บ้านเมืองกำลังยุ่งเหยิง จอมพลป.พิบูลสงคราม ได้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกวาระหนึ่ง แต่ต้องการให้หลวงพ่อสำเนียงกลับไปรับราชการอีก ทว่าท่านไม่ยอมสึก ทั้งได้ตั้งจิตอธิษฐานไว้ว่าจะขอยึดเอาผ้ากาสาวพัสตร์หุ้มห่อร่างกายจนกระทั่งตาย
ดังนั้น จึงมุ่งสู่ชนบท ได้เห็นวัดแหลมชะอุย คือ "วัดเวฬุวนาราม" ในปัจจุบัน
ชื่อเสียงของหลวงพ่อสำเนียงอีกด้าน คือ การรักษาโรคและยังเป็นพระนักพัฒนา ได้พัฒนาวัดเวฬุวนาราม และสร้างโรงเรียนสถาพรวิทยา ให้เด็กในชุมชนได้มีโรงเรียนศึกษา ตั้งมูลนิธิช่วยเหลือเด็กกำพร้า
พ.ศ.2523 รับโล่ทำคุณประโยชน์ต่อประเทศชาติดีเด่นเป็นพิเศษ ของมูลนิธิสรรพวรรณิต จากพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ปี 2527 รับโล่สดุดี "นักสังคมสงเคราะห์ดีเด่นประจำปี" จากมูลนิธิศาสตราจารย์ ปกรณ์ อังศุสิงห์
พ.ศ.2528 สำนักนายกรัฐมนตรีประกาศสดุดีให้พระครูสถาพรพุทธมนต์ เป็นพระดีเด่นประจำชาติ และปูชนียบุคคลที่นั่งอยู่ในหัวใจคนทั้งชาติ
หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร
มรณภาพเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2531
สิริอายุรวม 71 ปี
วัตถุมงคลยอดนิยมของหลวงพ่อสำเนียง ส่วนใหญ่จะเป็นประเภทเหรียญ ซึ่งมีอยู่หลายรุ่น ส่วนประเภทเนื้อผง คือ "พระสมเด็จนะฤๅชา" ที่อัดแน่นด้วยมวล สารศักดิ์สิทธิ์ และผ่านการปลุกเสกถึง 2 ครั้ง โดยร่วมในพิธีพระเครื่อง 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ.2500 ที่มีสุดยอดคณาจารย์ 108 รูปอธิษฐานจิต
ครั้งแรกได้ผ่านการอธิษฐานจิตปลุกเสกเมื่อตอนจัดสร้างเสร็จ โดยหลวงพ่อสำเนียง เป็นประธานในพิธี ครั้งที่ 2 หลวงพ่อสำเนียง นำไปร่วมปลุกเสกในพิธีพระเครื่อง 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ.2500 โดยมียอดพระเกจิอาจารย์แห่งยุคร่วมปลุกเสก อาทิ หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ, หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี, หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก, หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา, หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม เป็นต้น รวมทั้งตัวหลวงพ่อสำเนียง


ข้อมูลเพิ่มเติม 2 - 22 ส.ค. 2566 - 18:15:37 น.



หายากมากๆครับ พระสามสมัย วัดเวฬุวนาราม จังหวัดนครปฐม ที่ระลึกในการเสด็จพระราชกุศลวางศิลาโบสถ์ 5 ตุลาคม 2520 หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร เจ้าอาวาสวัดเวฬุวนาราม จัดสร้างปลุกเสกพิธีใหญ่มากครับ ในหลวงทรงเสด็จมา ถวายผ้าไตรจีวร
ประวัติพระครูสถาพรพุทธมนต์
หรือ หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร
วัดเวฬุวนาราม อ.บางเลน จ.นครปฐม
พระเกจิดังแห่งเมืองนครปฐม ท่านศึกษาวิชาสายหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า จ.ชัยนาท
หลวงพ่อสำเนียง ประสูติเมื่อวันที่ 5 ต.ค. 2460 ตรงกับวันศุกร์ ปีมะเส็ง แรม 4 ค่ำ เป็นพระโอรสในพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ และหม่อมทองนุ่น
เมื่อตั้งครรภ์ได้ 2 เดือน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ได้รับพระบรมราชโองการจากรัชกาลที่ 6 ให้ไปซื้อเรือพระร่วงที่ประเทศอังกฤษ จึงนำหม่อมทองนุ่น ไปฝากหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
ครั้นท่านประสูติ หลวงปู่ศุข จึงตั้งนามว่า "สำเนียง" แปลว่า "เสียง" เมื่อเสด็จพ่อทรงทราบจึงพระราชทานนามว่า "หม่อมเจ้าสถาพร อาภากร"
ประสูติได้ 7 วัน หม่อมทองนุ่นเสียชีวิต จนมีพระชันษาได้ 6 ปี เสด็จพ่อก็สิ้น พระชนม์ ในวังเริ่มระส่ำระสาย นายเอมพระสหายของเสด็จพ่อนำไปฝากไว้กับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพา พระขนิษฐาของเสด็จพ่อ ส่งให้ไปศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญบางรัก จบมัธยมปีที่ 8 ต่อมาศึกษาโรงเรียนนายร้อย จปร. เข้ารับราชการทหารที่กรมสื่อสารทหารบก ยศร้อยเอกดำรงตำแหน่งผู้บังคับกองต่างประเทศในหน้าที่แปลข่าวสารต่างประเทศ และได้ร่วมรบในสงครามอินโดจีน สงครามมหาเอเชียบูรพา
พอกลับจากศึกสงคราม ก็ถูกมรสุมร้ายทางการเมืองกระทำ ต้องถูกจองจำพร้อมกับจอมพลป.พิบูลสงคราม-หลวงเสรี-หลวงวิจิตรวาทการ และคนอื่นๆ ในข้อหาอาชญากรสงคราม เมื่อได้รับการปลดปล่อยหลวงเสรีได้ไปบวชที่วัดเบญจมบพิตร ส่วนหลวงพ่อสำเนียงท่านไปบวชอยู่ที่วัดกัลยาณมิตร ฝั่งธนบุรี
ท่านตั้งใจบวชเพียง 15 วัน แต่พอบวชได้ 3 วัน มีเหตุการณ์การเมืองขึ้นมาอีก จึงทำให้ท่านเปลี่ยนความตั้งใจ เหตุการณ์บ้านเมืองกำลังยุ่งเหยิง จอมพลป.พิบูลสงคราม ได้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกวาระหนึ่ง แต่ต้องการให้หลวงพ่อสำเนียงกลับไปรับราชการอีก ทว่าท่านไม่ยอมสึก ทั้งได้ตั้งจิตอธิษฐานไว้ว่าจะขอยึดเอาผ้ากาสาวพัสตร์หุ้มห่อร่างกายจนกระทั่งตาย
ดังนั้น จึงมุ่งสู่ชนบท ได้เห็นวัดแหลมชะอุย คือ "วัดเวฬุวนาราม" ในปัจจุบัน
ชื่อเสียงของหลวงพ่อสำเนียงอีกด้าน คือ การรักษาโรคและยังเป็นพระนักพัฒนา ได้พัฒนาวัดเวฬุวนาราม และสร้างโรงเรียนสถาพรวิทยา ให้เด็กในชุมชนได้มีโรงเรียนศึกษา ตั้งมูลนิธิช่วยเหลือเด็กกำพร้า
พ.ศ.2523 รับโล่ทำคุณประโยชน์ต่อประเทศชาติดีเด่นเป็นพิเศษ ของมูลนิธิสรรพวรรณิต จากพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ปี 2527 รับโล่สดุดี "นักสังคมสงเคราะห์ดีเด่นประจำปี" จากมูลนิธิศาสตราจารย์ ปกรณ์ อังศุสิงห์
พ.ศ.2528 สำนักนายกรัฐมนตรีประกาศสดุดีให้พระครูสถาพรพุทธมนต์ เป็นพระดีเด่นประจำชาติ และปูชนียบุคคลที่นั่งอยู่ในหัวใจคนทั้งชาติ
หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร
มรณภาพเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2531
สิริอายุรวม 71 ปี
วัตถุมงคลยอดนิยมของหลวงพ่อสำเนียง ส่วนใหญ่จะเป็นประเภทเหรียญ ซึ่งมีอยู่หลายรุ่น ส่วนประเภทเนื้อผง คือ "พระสมเด็จนะฤๅชา" ที่อัดแน่นด้วยมวล สารศักดิ์สิทธิ์ และผ่านการปลุกเสกถึง 2 ครั้ง โดยร่วมในพิธีพระเครื่อง 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ.2500 ที่มีสุดยอดคณาจารย์ 108 รูปอธิษฐานจิต
ครั้งแรกได้ผ่านการอธิษฐานจิตปลุกเสกเมื่อตอนจัดสร้างเสร็จ โดยหลวงพ่อสำเนียง เป็นประธานในพิธี ครั้งที่ 2 หลวงพ่อสำเนียง นำไปร่วมปลุกเสกในพิธีพระเครื่อง 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ.2500 โดยมียอดพระเกจิอาจารย์แห่งยุคร่วมปลุกเสก อาทิ หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ, หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี, หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก, หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา, หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม เป็นต้น รวมทั้งตัวหลวงพ่อสำเนียง


ข้อมูลเพิ่มเติม 3 - 22 ส.ค. 2566 - 18:15:49 น.



หายากมากๆครับ พระสามสมัย วัดเวฬุวนาราม จังหวัดนครปฐม ที่ระลึกในการเสด็จพระราชกุศลวางศิลาโบสถ์ 5 ตุลาคม 2520 หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร เจ้าอาวาสวัดเวฬุวนาราม จัดสร้างปลุกเสกพิธีใหญ่มากครับ ในหลวงทรงเสด็จมา ถวายผ้าไตรจีวร
ประวัติพระครูสถาพรพุทธมนต์
หรือ หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร
วัดเวฬุวนาราม อ.บางเลน จ.นครปฐม
พระเกจิดังแห่งเมืองนครปฐม ท่านศึกษาวิชาสายหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า จ.ชัยนาท
หลวงพ่อสำเนียง ประสูติเมื่อวันที่ 5 ต.ค. 2460 ตรงกับวันศุกร์ ปีมะเส็ง แรม 4 ค่ำ เป็นพระโอรสในพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ และหม่อมทองนุ่น
เมื่อตั้งครรภ์ได้ 2 เดือน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ได้รับพระบรมราชโองการจากรัชกาลที่ 6 ให้ไปซื้อเรือพระร่วงที่ประเทศอังกฤษ จึงนำหม่อมทองนุ่น ไปฝากหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
ครั้นท่านประสูติ หลวงปู่ศุข จึงตั้งนามว่า "สำเนียง" แปลว่า "เสียง" เมื่อเสด็จพ่อทรงทราบจึงพระราชทานนามว่า "หม่อมเจ้าสถาพร อาภากร"
ประสูติได้ 7 วัน หม่อมทองนุ่นเสียชีวิต จนมีพระชันษาได้ 6 ปี เสด็จพ่อก็สิ้น พระชนม์ ในวังเริ่มระส่ำระสาย นายเอมพระสหายของเสด็จพ่อนำไปฝากไว้กับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพา พระขนิษฐาของเสด็จพ่อ ส่งให้ไปศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญบางรัก จบมัธยมปีที่ 8 ต่อมาศึกษาโรงเรียนนายร้อย จปร. เข้ารับราชการทหารที่กรมสื่อสารทหารบก ยศร้อยเอกดำรงตำแหน่งผู้บังคับกองต่างประเทศในหน้าที่แปลข่าวสารต่างประเทศ และได้ร่วมรบในสงครามอินโดจีน สงครามมหาเอเชียบูรพา
พอกลับจากศึกสงคราม ก็ถูกมรสุมร้ายทางการเมืองกระทำ ต้องถูกจองจำพร้อมกับจอมพลป.พิบูลสงคราม-หลวงเสรี-หลวงวิจิตรวาทการ และคนอื่นๆ ในข้อหาอาชญากรสงคราม เมื่อได้รับการปลดปล่อยหลวงเสรีได้ไปบวชที่วัดเบญจมบพิตร ส่วนหลวงพ่อสำเนียงท่านไปบวชอยู่ที่วัดกัลยาณมิตร ฝั่งธนบุรี
ท่านตั้งใจบวชเพียง 15 วัน แต่พอบวชได้ 3 วัน มีเหตุการณ์การเมืองขึ้นมาอีก จึงทำให้ท่านเปลี่ยนความตั้งใจ เหตุการณ์บ้านเมืองกำลังยุ่งเหยิง จอมพลป.พิบูลสงคราม ได้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกวาระหนึ่ง แต่ต้องการให้หลวงพ่อสำเนียงกลับไปรับราชการอีก ทว่าท่านไม่ยอมสึก ทั้งได้ตั้งจิตอธิษฐานไว้ว่าจะขอยึดเอาผ้ากาสาวพัสตร์หุ้มห่อร่างกายจนกระทั่งตาย
ดังนั้น จึงมุ่งสู่ชนบท ได้เห็นวัดแหลมชะอุย คือ "วัดเวฬุวนาราม" ในปัจจุบัน
ชื่อเสียงของหลวงพ่อสำเนียงอีกด้าน คือ การรักษาโรคและยังเป็นพระนักพัฒนา ได้พัฒนาวัดเวฬุวนาราม และสร้างโรงเรียนสถาพรวิทยา ให้เด็กในชุมชนได้มีโรงเรียนศึกษา ตั้งมูลนิธิช่วยเหลือเด็กกำพร้า
พ.ศ.2523 รับโล่ทำคุณประโยชน์ต่อประเทศชาติดีเด่นเป็นพิเศษ ของมูลนิธิสรรพวรรณิต จากพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ปี 2527 รับโล่สดุดี "นักสังคมสงเคราะห์ดีเด่นประจำปี" จากมูลนิธิศาสตราจารย์ ปกรณ์ อังศุสิงห์
พ.ศ.2528 สำนักนายกรัฐมนตรีประกาศสดุดีให้พระครูสถาพรพุทธมนต์ เป็นพระดีเด่นประจำชาติ และปูชนียบุคคลที่นั่งอยู่ในหัวใจคนทั้งชาติ
หลวงพ่อสำเนียง อยู่สถาพร
มรณภาพเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2531
สิริอายุรวม 71 ปี
วัตถุมงคลยอดนิยมของหลวงพ่อสำเนียง ส่วนใหญ่จะเป็นประเภทเหรียญ ซึ่งมีอยู่หลายรุ่น ส่วนประเภทเนื้อผง คือ "พระสมเด็จนะฤๅชา" ที่อัดแน่นด้วยมวล สารศักดิ์สิทธิ์ และผ่านการปลุกเสกถึง 2 ครั้ง โดยร่วมในพิธีพระเครื่อง 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ.2500 ที่มีสุดยอดคณาจารย์ 108 รูปอธิษฐานจิต
ครั้งแรกได้ผ่านการอธิษฐานจิตปลุกเสกเมื่อตอนจัดสร้างเสร็จ โดยหลวงพ่อสำเนียง เป็นประธานในพิธี ครั้งที่ 2 หลวงพ่อสำเนียง นำไปร่วมปลุกเสกในพิธีพระเครื่อง 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ.2500 โดยมียอดพระเกจิอาจารย์แห่งยุคร่วมปลุกเสก อาทิ หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ, หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี, หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก, หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา, หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม เป็นต้น รวมทั้งตัวหลวงพ่อสำเนียง


 
ราคาปัจจุบัน :     840 บาท
เพิ่มขึ้นครั้งละ :     20 บาท

!!! ปิดประมูลแล้ว !!!

ผู้ชนะประมูล    MooPtnk (735)

 

Copyright ©G-PRA.COM